การดูแลตัวเองหลังผ่าตัด

การปฏิบัติตัวในผู้ป่วยหลังผ้าตัด เมื่อกลับไปอยู่บ้าน

การรับประทานยา
ท่านควรทำความเข้าใจเที่ยวกับยาที่ต้องกลับไปรับประทานต่อที่บ้าน โดยควรทราบชนิดของสา ขนาดของสา เจลารับประทานสา และท่านควรรับประทานยาตทมที่เพทย์สั่งจนครบ หากมีข้อสสัยให้ปรึกษาแพทย์หรือพยาบาล
ควรกินยาให้ตรงวลา เมื่อลืมกินสาให้ กินลาทันที และ ไม่กินจาเพิ่ม
ถ้าลืมกินยาเกิน 2 วันให้ปรึกษาแพทย์
ยาจะใช้วลา 2-3 วัน ในการออกฤทธิ์ท่านทินยาวันนี้ ยาฉะมีผลต่อการตรวจเลือดของท่านใน 2-3 วันถัดไป
ยามีหลายขนาด ท่านอาจตักินยาชนิตเดียวกันแต่หลายขนาดในหนึ่งวัน
ตรวจสอบขนาดยาอย่างน้อย 2 ครั้งก่อนกินยานั้น ๆ
เก็บยาให้ฟันแสง
มาเจาะเลือด และนำฟิล์มเอ็กซ์เรย์มาตามแพทย์นัด
ถ้าต้องไปพบแพทย์แพนกอื่น หรือที่โรงพยาบาลอื่น เพื่อรักษาภาวะหรือโรคอื่นๆให้แจ้งให้แพทย์ทราบทุกครั้ง
การขับรถ
เมื่อท่านขับรถ ความตึงเครียดที่ใช้ในการขับรถ จะเกิดขึ้นต่อกระดูกโดยตรง ตังนั้นจึงควร เลื่อนการขับรถออกไปอส่างน้อล เ เดือน เพื่อให้แผลมีโอกาสหายสนิทท่อน เมื่อท่าน เริ่มขับรถ ใหม่ๆ ควรจำกัดระยะทางไม่ให้ไกลเกินไป หลีกเลี่ยงการขับรถเร็ว การหยุดและการเลี้ยวรถอย่างทะทันหัน นอกจากนั้นอาจจะต้องมี ความจำเป็นที่จะใช้หมอนเล็กๆ รองระหว่างเย็มยัดนิรภัยกับตัวของท่านเพื่อป้องกันการครูดของแผลทับเย็มยัดนิรภัยโดยตรง ถ้าท่านวางแผนการเดินทางไกลเอาไว้ควรจัดเวลา 5-10 นาที พักระหว่างชั่วโมงยองการเดินทาง เพราะเป็นโอกทสที่ดีที่ท่านจะได้ลงเดิน ซึ่งจะช่วยให้การไหลเวียนยองเลือดที่ไปเลี้ยงยาดีขึ้น
การยกของ
หลีกเลื่องการลกของหนักมากกว่า 5 กก. เป็นเงลา 4 สัปดาห์หลังพาตัด เพื่อให้แผลสมานกันดีแล้ว หลังจากนั้นอีกประมาณ 4 สับดาห์ ท่านสามารถยกของ หนักได้ไม่เกิน 10 กก. โดยการยก ยองแนบอก ไม่หิ้วของหนัก หลังจากนั้นก็สามารถยกน้ำหนัก ได้ตามปกติ ถ้าท่านไม่รู้สึกว่าเจ็บบริเวณหน้าอก
การดูแลแผลพ่าตัด
1. ทำความสะอาดแผลทุกวันด้วยสบู่และน้ำอุ่น สามารถอาบน้ำได้เป็นปกติ หลีกเสี่องการใช้น้ำร้อนหรือเอ็นจัด
2. ควรทำแผลทุกวัน วันละ 1 ครั้ง โดยมาทำที่โรซพยาบาล หรือคลีนิกไกล้บ้าน
3. ไหมจะเบินไหมละลาย ไม่จำป็นต้องตัตไหม
4. ถ้ามีอาการปวดบวมแดงและมีน้ำเหลืองไหลจากแผลอาจเป็นเพราะว่ามีการติดเชื้อของ แผลเทิดขึ้น กรุณฑ์โทรบอกแพทย์ของท่านทันที
5. ท่านสุภาพสตรีควรใส่เสื้อชั้นในไว้เสมอ
การดูแลอาการปวดของแผล
อาการปวดของหน้าอก หลัง คอ และรอยแผล จมีอยู่ใด้หลายสัปดาห์หลัวการพตัด ซึ่งถ้าท่านยังมีอาการเจ็บปวดอยู่ก็สามารถรับประทานยาแท้ปวด เช่นparacetamol ซึ่งอาการปวดจะลดลงตามลำดับ

การพักผ่อน นอนหลับ และการมีเพศสัมพันธ์
ท่านควรหาเวลานอนพักบ่อยๆ โดยเฉพาะหลังออกจากโรงพยาบาลใหม่ ๆ วางแผนใน การทำกิจกรรมของท่าน เพื่อหลีกเสี่ยงอาการอ่อนเพลีย และเมื่อท่านรู้สึกว่าเหนื่อย หยุดทำกิจกรรมนั้นและพักทันที เวลานอนหลับยองท่านมักถูกรบกวนเสมอหลังการผ่าตัดช่วงแรก ๆ แต่ร่างกายจะค่อยๆ ปรับตัวเองไห้นอนหลับดีขึ้นเมื่อท่าน มีกิจกรรมมากขึ้น แต่ถ้าท่านมีเหชื่อออกเวลากลางคืนให้ถือว่าเป็นอาการผิดปกติ
การมีเพศสัมพันธ์
อาจถือเอาว่าสามารถเริ่มได้เมื่อท่านรู้สึกสบายใจและผ่อนคลาย เพียงแต่ไม่ลืมว่าการมีเพศสัมพันธ์จะมีผลต่อทรวงอกยองท่านโดยตรถ ดังนั้นควรหาท่าที่ไม่ต้องออกแรงต่อกระดูกหน้าอกมากนัก
1. ปรึกษาแพทย์เพื่อยอคำแนะนำ ส่วนใหญ่แพทย์มักอนุณาตให้มีเพศสัมพันธ์ด้หลังผ่าตัด 4-8 สัปดาห์ไปแล้ว
2. ควรมีเพศสัมพันธ์หลังจากพักผ่อนมาเพียงพอแล้วการรับประทานอาหาร
การรับประทานอาหาร
ท่านอาจจะมีความอยากอาหารลดลงหลังผ่าตัดใหม่ ๆซึ่งไม่เป็นความผิดปกติแต่อย่าฟัต เพียวแต่ต้องไม่ลืมว่าร่างกายของท่านต้องการสารอาหารเพื่อฟื้นฟูร่างทาย ในช่วงนี้ด้วย ขอให้ท่านรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน
ท่านอาจรับประทานอาหารเฉพะที่ท่านชอบเล้วรอจนกว่าความอยากอาหารฉะกลับมาเป็นปกติ จึงเริ่มรับ ประทานอาหารตามคำแนะนำของนัก โภชนาการท่านอาจดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอสผสมอยู่ได้บ้าจ และในขนาดที่ไม่มากจนเกินไป คือ 1-2 แท้ว ในสุราที่ผสมโซตาแล้วต่อวัน แไม่ใช่รอไว้ดื่มวันใดวันหนึ่งจำนวนหลายๆแก้วในหนึ่งสัปตาห์ แต่ถ้าไม่ดื่มได้ที่เป็นการดี
การอาบน้ำ
ท่านจะได้รับอนุณาตให้อาบน้ำจากอ่างหรือจากฝักบัวเมื่อแพลตัดหายดีแล้ว
อ่างอาบน้ำ
ในขั้นแรกท่านอาจยังไม่เข็จเรงพอที่จะเข้า-ออกจากอ่าง จึงควรมีใครอยู่ใกล้ๆ เพื่อคอยให้ความช่วยเหลือ
ฟักบัว
หากท่านอาบน้ำจากฝักบัฐ ท่านอาจนำม้านั่งที่เข็นเรจเข้าไปไว้รอจนั่งอาบจนกว่าท่านจะรู้สึกแย็งแรงขึ้น
ล้างแพลค่องๆ ด้วยสบู่ เต่อย่าดู แล้วซับให้แห้ง
หากมีพลาสเตอร์ปิตแผลมา จากโรงพยาบาล ท่านสามารถดึงออกได้หลังออกจากโรงพยาบาลประมาณ2-3 วัน
การทำกิจกรรม
กิจกรรมต่างๆ ควรทำเท่าๆกับขณะอยู่ในโรงพยาบาลประมาณ2 สัปดาห์ แล้วค่อยเพิ่มกิจกรรมตามความเหมาะสม โดย
การเดิน : โดยพยายามเดินให้ครบเวลาที่กำหนด
วิธีการ : ต้องมีการอบอุ่นร่างกาย โดยทำท่กายบริหารของ เยน ยา ลำตัว ทำอย่างต้า ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยพยายามอย่าเกร็งค้าง ทำท่าละ 10 ครั้ง
สัปดาห์แรก หลังออกจากโรงพยาบาส เดินเร็วโดยให้มีความรู้สึกเหนื่อยใกล้เคียงกับที่เดินในโรงพยาบาลเป็นเวลา 5 นาที
สัปดาห์ที่ 2 เช่นเดียวกับสัปดาห์แรกแต่เพิ่มระยะเวลาในการเดินเย็น 10 นาที
สัปดาห์ที่ 3เช่นเดียวกับสัปตาห์แรกแต่เพิ่มระยะเวลาในการเดินเป็น 15 นาที
สัปดาห์ที่ 4 พยายามเดินเร็วขึ้นโดยใช้ระยะเวลา 15 นาทีเหมือนเดิมซึ่งฉะทำไห้ได้ระยะทางเพิ่มขึ้นด้วย
สัปดาห์ต่อไป หลังจากเดินได้ครบ 15 นาที และเร็วขึ้นแล้วจนเกือบเป็นเดินเร็ว ให้เพิ่มระยะเวลาให้ได้ขึ้น 20 นาที

การบริหารปอดด้วยเครื่อง INCENTIVE SPIROMETRY
เครื่องบริหารปอด ( Incentive Spirometry )เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้ป่อดขยายตัวอย่างเต็มที่ โดยให้ผู้ป่วยหายใจเข้าอย่างลึกจนสุดเต็มที่ การใช้เครื่องบริหารปอดเป็นวิธีที่ง่ายและปลอดภัย โดยมีตัว แสดงที่บ่งบอกถึงระดับความสามารถของผู้ป่วย เพื่อผู้ป่วยสามารถประเมินตนเองและพัฒนาการหายใจให้ดีขึ้นเรื่อยๆ เป็นการสร้างแรงจูงใจและให้ทำลังใจแก่ผู้ป่วย
วัตถุประสงค์ในการฝึก
เพื่อให้เกิดการถ่างขยายปอดแบบคงค้าง (Sustained Maximum inspired) ป้องกันการเกิดภาวะทรกซ้อนต่างๆ ภายหลังการผ่าตัดหรือการนอนนานๆ
วิธีการใช้อย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
1. ให้ผู้ป่วยนั่งหลังตรงไม่พิจพนักหากนั่งตัวยตนเองไม่ไหวให้ใช้การปรับหัวเตียงยกขึ้นสูงแทนได้ 2. จากนั้นให้ผู้ป่วยอมหลอดดูด (mouthpiece) แลัวหายใจเข้าออกทางปากผ่านหลอด 2-3 ครั้ง 3. เมื่อเริ่มข้าใจการหายใจเข้าออกทางปากแลัว ให้ผู้ป่วยหายใจออกทางปากผ่านหลอดแบบยาวๆ 4. จากนั้นให้ออกแรงสูตลมหายใจข้าทางปากแบบ “ลิก เร็ง และ แรง” ค้างได้ 2-3งินาที แล้วจึงหายใจออกทางปากยาวๆอีกครั้ง ฟิกซ้ำ เซ็กละ 10 ครั้ง วันละอย่างน้อย 100 ครั้ง
หมายเหตุภายหลังการรับประทานอาหาร ควรพักสัก 1 ชั่วโมงจึงค่อยเริ่มฝึกอีกครัฐ ป้องการการอาเจียนหรือสำลักฮาหาร
หลักการสำคัญของเครื่อง
คือ…กรตุ้นให้ผู้ป่วยสามารถสูดหายใจข้แรงๆจนลูกบอลลอยขึ้นสูงสุดและลอยค้างนานที่สุด เพื่อให้ได้ปริมาตรอากาศเผ้าปอดเต็มที่ flow สูงสุดอย่างต่อเนื่องป็นระยะเวลานานที่สุด ทั้งนี้ เนื่องจาก

ปริมาตรอากาศ = การไหลของอากาศ (flow) x เวลา (time)

 

วิธีการดูแลรักษาด้วยตัวเองก่อนได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด

คำแนะนำที่อาจช่วยลดภาวะเหงื่อออกมากและลดการเกิดกลิ่นกายได้ ก่อนได้รับการผ่าตัด

ใช้ผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นกาย ที่มีส่วนผสมยองอะลูมิเนียมเพื่อช่วยปิดต่อมเหงื่อได้ชั่วคราว

กาพลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมยองกรดแทนนิก (ซิแลคติน)ในบริเวณที่มีเหงื่ออกมาก

อาบน้ำเป็นประจำทุกวัน เพื่อลดการสะสมยองแบคทีเรียบนผิวหนัง และเช็ดให้แห้งโดยฉพาะบริเวณจ้ามนิ้วเท้าและใต้วงแขน

สวมรองเท้าและฤงท้าที่ทำจากวัสดุธรรมชาติ เช่น รองท้าหนัง จะช่วยระบายอากาศได้ดี และการสวมถุงเท่าจะช่วยซึมซับเหงื่อได้ดีด้วย

เปลี่ยนถุงเท้าบ่อยๆ วันละครั้งหรือสองครั้ง และเช็ดเท้าให้แห้งทุกครั้ง หรืออาจใช้พงแป้งโรยที่เท้าเพื่อช่วยซับเหงื่อ

ควรให้เท้าได้สัมผัสอากาศบ้าง การเดินเท้าเปล่าหรือดอดรองเท้าออกบ้างเป็นครั้งคราว ช่วยลดความอับชื้นและเหงื่อได้

ควรให้เท้าได้สัมผัสอากาศบ้าง การเดินเท้าเปล่าหรือดอดรองเท้าออกบ้างเป็นครั้งคราว ช่วยลดความอับชื้นและเหงื่อได้

ลองใช้เทคนิคการผ่อนคลาย เช่น โยคะ การทำสมาธิ และการทำจิตใจให้สบาย จะช่วยให้เราควบคุมความเครียดที่ทำให้เหงื่อออกได้